วันจันทร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2554

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

โครงการผลิตชุดการเรียนรายวิชาหลัก
ตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฎ (Courseware)

วิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย                                                        รหัสวิชา  2561102
วิทยากร คุณฉัตรชัย  รุจิตานนท์

ประวัติการศึกษา   

                นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม
                นิติศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง
                เนติบัณฑิตไทย

ประวัติการทำงาน

                อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
                ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจำกองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์


หลักสูตรและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โครงการผลิตชุดการเรียนรายวิชาหลัก
ตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฎ (Courseware)

วิชา หลักสูตรและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน                                                      รหัสวิชา  1021205
วิทยากร รองศาสตราจารย์วิชัย   วงษ์ใหญ่
ที่ทำงาน                  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
                                สุขุมวิท 23 กรุงเทพฯ 10110 โทร. 664-1000 ต่อ 5647 – โทรสาร 2584119
ที่บ้าน                      878 ถนนพระราม 4 เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
                โทร. 234-2393 โทรสาร 234-2393, 01-754-8219
ประวัติการศึกษา
            ปริญญาตรี            กศ..      วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร
                                ปริญญาโท             M.A.         University of Georgia U.S.A.
                                ปริญญาเอก           Ed.D.(การฝึกหัดครู) University of Georgia U.S.A.
                                การวิจัยหลังปริญญาเอก (หลักสูตรและการสอน) Indiana University U.S.A
ประวัติการทำงาน
                                -     อดีตคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
-          คณะกรรมการการปฏิรูปการเรียนรู้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติและกระทรวงศึกษาธิการ
-          คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒพัฒนาหลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการ
-          คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการจัดการทรัพยากรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
-          ผู้เชี่ยวชาญพัฒนาข้าราชการ สำนักข้าราชการพลเรือน
-          คณะกรรมการพัฒนาเกณฑ์มาตราฐานหลักสูตร ทบวงมหาวิทยาลัย
-          ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต
สาขาการอุดมศึกษา
ผลงานทางวิชาการอื่นๆ
                                -     การพัฒนาหลักสูตรและการสอน-มิติใหม่
-          การพัฒนาหลักสูตรและการสอน-ภาคปฏิบัติ
-          กระบวนทัศน์ใหม่การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคล
-          พลังการเรียนรู้ในกระบวนทัศน์ใหม่
-          ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด : สูตรสำเร็จหรือกระบวนการ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต

โครงการผลิตชุดการเรียนรายวิชาหลัก

ตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฎ (Courseware)

                                       

 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต                                                                                รหัสวิชา 4000107

วิทยากร พงษ์สุข หิรัญพฤกษ์ 

E-mail : nui@ieshow.com และ nui@shownolimit.com        
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี ศศบ. สาขาการแสดงและกำกับการสแดง คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2543
ประวัติการทำงาน
ปัจจุบัน                            :  กรรมการผู้จัดการ บริษัท โชว์ไร้ขีด จำกัด
                                                             กรรมการ สมาคมผู้ดูแลเว็บไทย (Thai Webmaster Association)
 พ.ศ. 2541-ปัจจุบัน : พิธีกรและทีมงานรายการ IE Show.com ททบ.5
                                                              พิธีกรรายการ E-Vanety สถานีโทรทัศน์ ITV
                                                 (ผลิตรายการโดย บริษัทสแพลซ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด)
                                                 พิธีกรและครีเอทีฟรายการ IT Genius ช่อง 9 อสมท
                                                 (ผลิตรายการโดย บริษัท โชว์ไร้ขีด จำกัด )
ประวัติการทำงานในอดีต
ปี พ.ศ. 2543              : Project Manager บริษัท ไออี อินเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด
                                                  โปรดิวเซอร์รายการ IE Cyber Radio (วิทยุอินเตอร์เน็ต)
                                                  Internet Jockey (IJ) รายการ IE Cyber Radio
ปี พ.ศ. 2545-2546    : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท สแพลซ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด
ประวัติการทำงานด้านพิธีกร :
พงศ์สุข เริ่ม งานด้านพิธีกรตั้งแต่ 8 ปีที่แล้ว ในปี พศ.2538 ในขณะที่เขาเรียนอยู่ชั้นมัธยม 6 เขาเริ่มปรากฏกายในรายการเคเบิ้ลทีวีเล็กๆ นาม ไทยสกายทีวี กับรายการแคมปัสออนแอร์ เป็นรายการคอมมูนิตี้นักศึกษาไทยที่มุ่งเน้นนำเสนอกิจกรรมนักศึกษา และออกอากาศสด จัดรายการอยู่ร่วม 2ปี จนสอบเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้  ไทยสกาย ก็พ่ายแพ้เศรษฐกิจ ม้วนเสื่อไปในที่สุด พงศ์สุข จึงหันหลังให้อาชีพพิธีกร แล้วตั้งใจว่าจะเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ไทย โดยศึกษาด้านการแสดงอย่างจริงจังในรั้วเทา-แดง และไม่ข้องแวะวงการโทรทัศน์อีก เขาเบนเข็มไปทำละครเวทีอย่างจริงจัง  เคยกำกับละครเวทีในเทศกาลสานศิลป์ที่ภัทราวดีเธียเตอร์ จนในที่สุดแวดวงอินเตอร์เน็ตที่เขาหลงไหลชอบเข้าไปพูดคุยเสวนาเรื่องหนัง-ละครเวที ก็จัดงาน Meeting ขึ้น โดยมีคนชี้ชวนให้นักเรียนละคร(นามแฝงของพงศ์สุข ในอินเตอร์เน็ต)มารับหน้าที่เป็นพิธีกรในค่ำคืนนั้น โดนคนชี้ชวนมองว่า
นักเรียนละครน่าจะเป็นพิธีกรได้ค่ำคืนที่แสนจะอบอุ่นของแวดวงอินเตอร์เน็ตได้ผ่านพ้นไป พร้อมๆกับความสงสัยว่าเขาไปฝึกพูด ซ้อมมุขมาจากไหน ทำไม คล่อง เช่นนี้ อีกไม่นานงาน Meeting บนอินเตอร์เน็ตก็จัดขึ้นอีกหลายต่อหลายงาน พงศ์สุขก็ถูกขันอาสาเป็นพิธีกรอีก จนในที่สุด ณ งาน ICQ Party งานสังสรรค์ใหญ่ ของชาวไทยที่ใช้โปรแกรม ICQ ซึ่งจัดโดยคุณปรเมศวร์ มินศิริ หรือ นายสนุกดอทคอม ในเวาลานั้น ก็ทำให้เขาได้มาพบกับ จอหน์ รัตนเวโรจน์ นักร้องวงนูโว ที่สนใจเรื่องเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นชีวิตจิตใจ หลังจากนั้นไม่นาน จอห์น ก็ ICQ หาหนุ่ย เพื่อชักชวนมาเป็นพิธีกรประจำช่วงไอทีในรายการใหม่ ซึ่งตอนนั้นตั้งชื่อว่า ไออีดอทคอม นับจากนั้นมีคนหลายคนยอมรับว่าเขาเป็นสัญลักษณ์ของไอที ด้วยลีลาการอธิบายเรื่องยากๆให้เข้าใจง่าย ดูสนุกสนาน จนทำให้เขาเปิดบริษัท โชว์ไร้ขีด จำกัด เพื่อรองรับงานพิธีกรและจัด Event กิจกรรมส่งเสริมการขายของไอที่ต่างๆมากมาย ด้วยการประยุกต์ความรู้ด้านไอทีมาพัฒนาเป็นโปรแกรมสำหรับจัดงานต่อจากนั้นไม่นานเขาก็มีโอกาสโชว์เดี่ยวในรายการไอทีความยาว 30 นาที อีวาไรตี้ ทางไอทีวี และตามด้วยไอทีจีเนียส ที่เขาเป็นผู้สร้างสรรค์รูปแบบรายการใหม่ด้วยตัวเองปัจจุบันเขากำลังสนุกสนานกับรายการทั้ง 3,การจัดอีเว้นท์ทั้งเล็กและใหญ่ และกำลังเตรียมการเปิดบริษัทใหม่อีก 2 บริษัท เพื่อผลิตเกมคอมพิวเตอร์ และรายการโทรทัศน์
ประวัติการทำงานด้านวิทยากร
ปี พ.ศ. 2543   : วิทยากรรับเชิญ รายการของ ดร.จิระ หงส์ลดารมณ์ UBC 7
ปี พ.ศ. 2544   : วิทยากรรับเชิญ   รายการของ นพ.พงษ์ศักดิ์  ตั้งคณา ช่อง 11
                                     :  วิทยากรอบรม ครอบครัวไอทีกับ Telecom ASIA” ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                     :  วิทยากรอบรม ครอบครัวไอทีกับ Telecom ASIA” ครั้งที่ 2 อาคารซีพี ทาวเวอร์ 2
                                     :  วิทยากรโครงการประกวดเวบไซด์สิ่งแวดล้อมกับตาวิเศษ และ CDG ธนาคารกรุงเทพ
                          สำนักงานใหญ่
                                     :  วิทยากรสัมนาหัวข้ออนาคตของเวบไซต์ไทยจะเป็นอย่างไร?” สถาบันเทคโนโลยีพระนคร
                                         วิทยาเขตพระนครเหนือ
ปี พ.ศ. 2545   :  วิทยากรพิเศษ บรรยายหัวข้อ การนำไอทีมาใช้ในการทำงาน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
                                        วิทยาเขตรังสิต
ปี พ.ศ. 2546    : วิทยากรพิเศษ บรรยายหัวข้อ การตลาดไร้ขีดจำกัด ห้องประชุมใหญ่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
                                         วิทยาเขตกล้วยน้ำไท
                                         วิทยากรพิเศษ บรรยายหัวข้อ การพัฒนาซอฟท์แวร์เพื่อใช้ในองค์กรมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
                                         วิทยากรร่วม แรลลี่อินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยเซ็นต์จอห์น
                                         วิทยากรพิเศษ บรรยายหัวข้อ ไอทีกับชีวิตจริง วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                         วิทยากรพิเศษ บรรยายหัวข้อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องประชุมใหญ่สถาบันราชภัฏสวนดุสิต
                                         วิทยากรร่วม พ่อแม่หนู รู้ อินเทอร์เน็ต โดยเนคเทค ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                         วิทยากรพิเศษ ก้าวทันไอที ปี 2003 โรงเรียนบริหารธุรกิจ
ประวัติการทำงานด้นการแสดง
ปี พ.ศ. 2538          : นักแสดงละครเวทีเรื่อง เอาเหอะ เอาเหอะ : คณะละครนาครศิษย์ครูช่าง
ปี พ.ศ. 2538          : นักแสดงละครเวทีเรื่อง หัวเราะข้ามศตวรรษ ภาควิชาศิลปการละครคณะอัษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์
                 มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2538-2539 :  นักแสดงละคร มหาชนอลเวง ช่อง 9 อสมท บริษัท แดส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์  จำกัด
ปี พ.ศ. 2540          :  โปรดิวเซอร์ และนักแสดงละครเวทีเรื่อง มหัศจรรย์วันดาวดับ ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ
ปี พ.ศ. 2540           :  นักแสดงละครเวทีเรื่อง ผู้มาเยือน: ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปี พ.ศ. 2541         :  ผู้กำกับละครเวทีเรื่อง Primal Fear : เทศกาลละคร ฤดูกาลสานศิลป์ ครั้งที่ 1 ภัทราวดีเธียเตอร์
ปี พ.ศ. 2541         : นักแสดงละครเวทีเรื่อง คอ-โอะ-นอ : ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปี พ.ศ. 2541         :  กำกับละครเวทีเรื่อง นิทานเวตาล 3 คณะละครมรดกใหม่
ปี พ.ศ. 2542         : ประชาสัมพันธ์ละครเวทีเรื่อง ตู้ตุ๊กตา : ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปี พ.ศ. 2542         :  นักแสดงละครเด็กเพื่อการศึกษา ขบวนการยอดมนุษย์จิ๋ว ภาควิชาศิลปะการแสดง
                                                มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปี พ.ศ. 2545         :  นักแสดงละครพรีเซนเทชั่น นิตยสาร CHIP ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิต์
เกียรติประวัติและรางวัลที่เคยได้รับ
ปี พ.ศ. 2537          :  รางวัลชนะเลิศการประกวดการแสดง รายการตัวต่อตัว ททบ.5โดยบริษัท เจเอสแอล จำกัด
ปี พ.ศ. 2534          :  รางวัลชนะเลิศการประกวดการแสดงสร้างสรรค์ ครีเอทีฟ อวอร์ด FM96.5
                                                 Entertainment Station โดย   บริษัท ฟาติมา บรอดคาสติ้ง จำกัด
ปี พ.ศ. 2546          :  รางวัลเชิดชูเกียรติ ศิษย์เก่าดีเด่น โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

โครงการผลิตชุดการเรียนรายวิชาหลัก
ตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฎ (Courseware)

วิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ                                                         รหัสวิชา  3563204
วิทยากร ผศ.ดร.ชนวัฒน์  ศรีสอ้าน

ที่อยู่ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต

ประวัติการศึกษา

                วศ.บ. (ไฟฟ้า)         ปี  1989                   มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
                MSCS (Computer Science)                   1991        Illinois Institute of Technology,Chicago,USA
                Ph.D.(Computer Science)                      1991        Illinois Institute of Technology,Chicago,USA          
                MBA (Finance)                                      1995        Loyola University of Chicago, Chicago,USA

ประวัติการทำงาน 

                1. คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย รังสิต
                2. หัวหน้าหลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (MSCS) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัย รังสิต
                3. Senior Software Manager ของ United Airline at Chicago Illinois ณ นครชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา
4. หัวหน้าสาขาเทโนโลยีสารสนเทศ และหัวหน้าโครงการพัฒนาและผลิตสื่อการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี
5. Technical Development Mansger ของ บ.เอเชียอินโฟเน็ต (Telecom Asia Subsidiary)
6. อาจารย์ประจำระดับ 3 ที่สถทบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ตามโครงการพัฒนบุคลากร
ที่ขาดแคลน ของ ทบวงมหาวิทยาลัย ทุนไปศึกษา โท-เอก

ผลงานวิชาการ หรือผลงานอื่นๆ

งานวิจัย

                1. โครงการวิจัย คอมพิวเตอร์ 32 บิต ภายในประเทศ (ผู้ช่วยวิจัย) Award by NECTEC
                2. การวิจัยและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจในการติดตาม ประเมินสถานการณ์ การลงทุน และการจ้างงาน ในจังหวัดนครราชสีมา (“Decision Support System for Tracking employment and evaluating investment situation in NakonRasima”)
                3. การพัฒนาสื่อการสอนแบบ Computer Telephony Integration (Computer Telephony Integration Technology for Course Ware Sevelopment)
                4. โครงการวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพลความเหมาะสมของแบบจำลองโปรแกรมเรียนรู้สำหรับคนไทย

งานบริการทางวิชาการ

                1. คณะกรรมการร่างหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับปริญญาเอก มหาวิทยาลัยรังสิต มีนาคม 2547
                2. เป็นผู้ริเริ่มและกรรมการในคณะกรรมการตัดสินใจ โครงงานนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์รุ่นเยาว์ (YSCCS) เพื่อส่งนักเรียนผู้ชนะเลิศไปแข่งขันในงาน Intel ISEF ของ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ร่วมกับบริษัทอินเทล ไทยแลนด์
                3. คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พฤศจิกายน 2542
                4. เป็นกรรมการ ในคณะกรรมการออกแบบ และควบคุมงาน ดำเนินการจ้างเหมา ติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Asynchronous Transfer Mode (ATM) 622 Mbpsมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
5. เป็นที่ปรึกษาของคณะกรรมการแผนแม่บทระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
6. เป็นกรรมการ ในคณะทำงานออกแบบและกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดตั้งหน่วยผลิตและพัฒนาสื่อการศึกษา
7. ที่ปรึกษาบริษัทไฮเปอร์มีเดีย พับบิลชิ่ง จำกัด
8. อาจารย์พี่เลี้ยงร่วมกับ รศ. ยืน  ภู่วรวรรณ ในโครงการพัฒนาอัจฉรียภาพ สำหรับเด็กและเยาวชนของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช)
9. เป็นวิทยากรบรรยาย ในหลักสูตร การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารอุตสาหกรรม (ITIM) ครั้งที่ 1 ประจำปี 2540
10. ประธานที่ปรึกษาบริษัท Decision Consulting Group.(http://www.dcg.co.th/)
11. เป็นที่ปรึกษาบริษัท The Fine Intertrade (TFP) Co;Ltd

วิชาศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์ เรื่องภาษาภาพยนตร์

โครงการผลิตชุดการเรียนรายวิชาหลัก
ตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฎ (Courseware)

วิชา ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์                                                                     รหัสวิชา  3011103                 
วิทยากร สุรพงษ์   พินิจค้า

ที่อยู่        7/11 หมู่บ้านชัยพฤกษ์รามอินทรา ถ.วัชรพล

Tel.         02-5199954, 02-5199503  Fax                02-5199953         e-mail:   maewarporn@hotmail.com
ประวัติการศึกษา                ปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวอทยาลัยกรุงเทพ
ประวัติการทำงาน                 ก่อตั้งบริษัท อิมเมจ แอมด์ มอนตาจ
                                ผู้กำกับภาพยนตร์                -      ปมไหม
-          ทวิภพ
-          สำเพ็ง
-          อัศเจรีย์
และภาพยนตร์โฆษณา

เทคโนโลยีสารสนเทศ

วัตถุประสงค์ชุดวิชา
1. เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
3. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการนำมาประยุกต์ใช้
4. เพื่อก่อให้เกิดแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและรู้ถึงข้อจำกัดของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักสูตรที่สามารถนำชุดวิชาไปใช้ / กลุ่มผู้เรียน
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ทุกสาขาวิชาที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือสาขาอื่น ๆ ที่ต้องการนำความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้
รายละเอียดของบทเรียน
ชุดวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยบทเรียนทั้งหมด 15 บทเรียน ดังต่อไปนี้

บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1 บทนำ
1.2 ความหมายของคำว่าข้อมูลกับสารสนเทศ
1.3 ความหมายของคำว่าเทคโนโลยี
1.4 พัฒนาการของสารสนเทศและเทคโนโลยีสู่ยุคดิจิตอล
1.5 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.6 การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการศึกษา ราชการ และในเชิงพาณิชย์
1.7 ปัจจัยที่ทำให้เกิดความล้มเหลวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
1.8 สรุป
บทเรียนที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
2.1 บทนำ
2.2 คอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์
2.2.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์
2.2.2 องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
2.2.3 ประเภทของคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
2.3.1 ภาพรวมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
2.3.2 มองภาพลึกภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
2.3.3 การพิจารณาเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
2.4 คอมพิวเตอร์กับเครือข่าย
2.4.1 คอมพิวเตอร์กับความต้องการเชื่อมต่อเครือข่าย
2.4.2 คอมพิวเตอร์กับอินเตอร์เน็ต
2.4.3 คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับเครือข่ายได้อย่างไร
2.5 สรุป
บทเรียนที่ 3 เทคโนโลยีเครือข่าย
3.1 บทนำ
3.2 ความรู้พื้นฐานของเทคโนโลยีเครือข่าย
3.3 การประมวลผลข้อมูลบนเครือข่าย
3.4 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูล
3.5 ช่องทางการสื่อสารข้อมูล
3.6 อุปกรณ์การสื่อสารข้อมูล
3.7 ชนิดของระบบเครือข่าย
3.8 ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น
3.9 ระบบเครือข่ายระยะไกล
3.10 การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.11 สรุป
บทเรียนที่ 4 เทคโนโลยีซอฟต์แวร์
4.1 บทนำ
4.1.1 ซอฟต์แวร์คืออะไร
4.1.2 ประเภทของซอฟต์แวร์
4.1.3 วิธีการจัดหาซอฟต์แวร์
4.2 ซอฟต์แวร์ระบบ
4.2.1 ระบบปฏิบัติการ
4.2.2 ภาษาคอมพิวเตอร์
4.2.3 ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
4.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
4.3.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป
4.3.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
4.4 การพัฒนาซอฟต์แวร์
4.4.1 การออกแบบซอฟต์แวร์อย่างมีโครงสร้าง
4.4.2 การเขียนผังงาน
4.5 ผลดีผลเสียระหว่างการพัฒนาซอฟต์แวร์กับการใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
4.6 กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์
4.7 สรุป
บทเรียนที่ 5 เทคโนโลยีฐานข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล
5.1 บทนำ
5.2 เทคโนโลยีฐานข้อมูล
5.3 การจัดการข้อมูล
5.4 การจัดการแฟ้มข้อมูล
5.5 วิธีการประมวลผล
5.6 การจัดการฐานข้อมูล
5.7 การออกแบบฐานข้อมูล
5.8 การบริหารระบบฐานข้อมูล
5.9 แนวโน้มการพัฒนาฐานข้อมูล
5.10 สรุป
บทเรียนที่ 6 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
6.1 บทนำ
6.2 ระบบ
6.3 การวิเคราะห์
6.4 เทคนิคการรวบรวมข้อมูลเพื่อหาความจริงของระบบ
6.5 แผนภาพกระแสข้อมูล
6.6 คำอธิบายการประมวลผล
6.7 การสร้างแบบสำหรับระบบใหม่
6.8 การออกแบบระบบ
6.9 ผังงานโครงสร้าง
6.10 วิธีการออกแบบ
6.11 การออกแบบแบบฟอร์ม
6.12 พัฒนาโปรแกรมและบำรุงรักษา
6.13 การวางแผนและควบคุมโครงการ
6.14 สรุป
บทเรียนที่ 7 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.1 บทนำ
7.2 ระบบสารสนเทศ
7.2.1 ข้อมูล, สารสนเทศ และการจัดการ
7.2.2 แนวคิดของระบบและการทำตัวแบบ
7.2.3 ความหมายและบทบาทของระบบสารสนเทศ
7.2.4 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ
7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการบริหาร
7.3.1 ระดับของการจัดการและการดำเนินการ
7.3.2 ระบบประมวลผลรายการ
7.3.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.3.4 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
7.3.5 ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร
7.3.6 ระบบผู้เชี่ยวชาญ
7.4 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.4.1 แนวคิดของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.4.2 ผลลัพธ์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.4.3 คุณลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.4.4 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.5 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ
7.5.1 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการเงิน
7.5.2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิต
7.5.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการตลาด
7.5.4 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์
7.5.5 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการบัญชี
7.6 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระดับกลุ่มงาน
7.6.1 แนวคิดของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระดับกลุ่มงาน
7.6.2 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระดับกลุ่มงาน
7.7 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.7.1 วงจรการพัฒนาระบบ
7.7.2 การศึกษาระบบ
7.7.3 การวิเคราะห์ระบบ
7.7.4 การออกแบบระบบ
7.7.5 การนำระบบไปใช้งาน และการดูแลรักษาระบบ
7.8 เทคโนโลยีที่น่าสนใจในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7.8.1 การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
7.8.2 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
7.9 สรุป
บทเรียนที่ 8 ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
8.1 บทนำ
8.2 ผู้บริหาร การตัดสินใจ และการแก้ปัญหา
8.2.1 บทบาทของผู้บริหาร และระดับการบริหาร
8.2.2 ประเภทของการตัดสินใจ
8.2.3 ขบวนการในการตัดสินใจและการสร้างตัวแบบ
8.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
8.3.1 คำนิยามของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
8.3.2 คุณลักษณะและความสามารถของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
8.3.3 การเปรียบเทียบระหว่างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ และระบบสารสนเทศเพื่อารจัดการ
8.4 ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
8.4.1 ระบบย่อยในการจัดการข้อมูล
8.4.2 ระบบย่อยในการจัดการตัวแบบ
8.4.3 ระบบย่อยในการจัดการความรู้
8.4.4 ระบบย่อยในการติดต่อกับผู้ใช้
8.5 เทคโนโลยีและตัวแบบที่ใช้ในระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
8.5.1 คลังข้อมูลและฐานข้อมูลหลายมิติ
8.5.2 การประมวลเชิงวิเคราะห์แบบออนไลน์
8.5.3 การหาคำตอบที่เหมาะสมสุด
8.5.4 การโปรแกรมแบบฮิวริสติก
8.5.5 การจำลองเหตุการณ์
8.6 ระบบสนับสนุนการจัดสินใจในระดับกลุ่มงาน
8.6.1 คุณลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจในระดับกลุ่มงาน
8.6.2 ส่วนประกอบและซอฟต์แวร์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจในระดับกลุ่มงาน
8.7 สรุป
บทเรียนที่ 9 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.1 บทนำ
9.2 ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.3 ขอบเขตและความสัมพันธ์ของระบบการจัดการสารสนเทศ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ และระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.4 องค์ประกอบการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.4.1 ความจำเป็นของระบบ
9.4.2 หน้าที่ของผู้บริหาร
9.4.3 หน้าที่ของผู้พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.4.4 ทีมพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.4.5 ซอฟต์แวร์สำหรับสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.4.6 ผู้ให้บริการปรึกษาด้านสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.5 ขั้นตอนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการบริหาร
9.5.1 การเสนอโครงการ
9.5.2 ต้นแบบระบบ
9.5.3 การเริ่มใช้งาน
9.5.4 วัฏจักรการพัฒนา
9.6 สรุป
บทเรียนที่ 10 เทคโนโลยีสารสนเทศกับอินเตอร์เน็ต
10.1 บทนำ
10.2 เทคโนโลยีสารสนเทศกับอินเตอร์เน็ต
10.2.1 อินเตอร์เน็ตคืออะไร
10.2.2 บริการด้านการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล
10.2.3 บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
10.3 ระบบการแทนชื่อในอินเตอร์เน็ต
10.4 การติดต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต
10.5 บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
10.6 โปรแกรมบราวเซอร์
10.7 การประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ต
10.8 อินทราเน็ต
10.9 สรุป
บทเรียนที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศในสำนักงาน
11.1 บทนำ
11.2 สำนักงานกับระบบเครือข่ายสารสนเทศ
11.3 การสื่อสารสารสนเทศระหว่างบุคคลหรือหน่วยงานในสำนักงาน
11.4 ประเภทงานที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสำนักงาน
11.5 อินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต และเอ็กซทราเน็ต กับสำนักงาน
11.6 สารสนเทศและการตัดสินใจสำหรับงานบริหารในสำนักงาน
11.7 ระบบฐานข้อมูลกับงานสารสนเทศในสำนักงาน
11.8 เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในสำนักงาน
11.9 การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศในสำนักงาน
11.10 การให้บริการสารสนเทศในสำนักงาน
11.11 สรุป
บทเรียนที่ 12 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
12.1 บทนำ
12.2 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
12.3 แนวคิดการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
12.4 บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษา
12.5 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
12.5.1 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
12.5.2 การเรียนการสอนโดยใช้เวบเป็นหลัก
12.5.3 มัลติมีเดีย
12.5.4 อิเล็กทรอนิกส์บุค
12.5.5 ระบบการเรียนการสอนทางไกล
12.5.6 วิดีโอเทเลคอนเฟอร์เรนซ์
12.5.7 ระบบวิดีโอออนดีมานด์
12.5.8 ไฮเปอร์เท็กซ์
12.5.9 อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา
12.6 สรุป
บทเรียนที่ 13 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาต่าง ๆ
13.1 บทนำ
13.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา
13.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาธุรกิจและสำนักงาน
13.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิต
13.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาสาธารณสุขและการแพทย์
13.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาสื่อสารและโทรคมนาคม
13.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยราชการต่าง ๆ
13.9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านความมั่นคงของชาติและทางทหาร
13.10 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาโรงแรมและการท่องเที่ยว
13.11 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาบันเทิง
13.12 สรุป
บทเรียนที่ 14 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
14.1 บทนำ
14.2 สถานการณ์ใหม่ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
14.3 คุณลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศ
14.4 ผลกระทบทางการศึกษา
14.4.1 การเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนการสอน
14.4.2 การเปลี่ยนแปลงด้านรูปแบบการศึกษา
14.4.3 การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมทางการเรียน
14.5 ผลกระทบของเครือข่ายสารสนเทศต่อการศึกษา
14.6 ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ
14.7 ผลกระทบด้านกฎหมาย ศีลธรรมและจริยธรรม
14.7.1 อาชญากรรมบนอินเตอร์เน็ต
14.7.2 การพนันบนเครือข่าย
14.7.3 การแพร่ภาพอนาจารบนเครือข่าย
14.8 สรุป

บทเรียนที่ 15 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

15.1 บทนำ
15.2 ระบบความจริงเสมือน
15.3 ระบบสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
15.3.1 ระบบปลุกอัตโนมัติ
15.3.2 โฮมออฟฟิศ
15.3.3 การสั่งสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
15.3.4 การปรึกษาและรักษาผู้ป่วยทางอินเตอร์เน็ต
15.3.5 ห้องสมุดในบ้าน
15.4 ระบบทางด่วนข้อมูล
15.4.1 ระบบสื่อสารหนึ่งเดียว
15.4.2 คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ในอนาคต
15.5 ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
15.6 สรุป